พระบรมธาตุในประเทศไทย ตอนที่ 3
พระบรมธาตุในประเทศไทย ตอนที่ 3 พระธาตุวาโยนคร, วัดป่าพระธาตุโพธิ์ทอง, วัดแจ้ง, วัดสารนารถธรรมาราม ฯลฯ
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน
สามเณรนิโครธ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรพชิตผู้มีศีลทั้งหลาย เข้าไปหาสกุลใด มนุษย์ในสกุลนั้นย่อมประสบบุญเป็นอันมาก โดยฐานะ ๕ ประการ คือ สมัยใด บรรพชิตผู้มีศีลเข้าไปหาสกุล จิตของพวกมนุษย์ ย่อมเลื่อมใส สมัยนั้น สกุลนั้นชื่อว่าปฏิบัติปฏิปทาที่ยังสัตว์ ให้เป็นไปพร้อมเพื่อสวรรค์
สามเณรนิโครธ (๒)
หากว่าบุคคลมีธรรมประดับแล้ว เป็นผู้สงบแล้ว ฝึกตนแล้ว เป็นคนเที่ยงตรง เป็นพรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตว์ทั้งปวง พึงประพฤติธรรมสมํ่าเสมอ ผู้นั้นก็ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นสมณะ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นภิกษุ
สามเณรนิโครธ (๑)
ผู้ใดเห็นภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะ ให้ท่านยืนอยู่เบื้องหน้า ประคองอัญชลีนมัสการแล้ว ผู้นั้นจะได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน เมื่อละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติสวรรค์
พระมหากัปปินเถระ
บุคคล ผู้เอิบอิ่มในธรรม มีใจผ่องใส ย่อมอยู่เป็นสุข บัณฑิต ย่อมยินดีในธรรมที่พระอริยเจ้า ประกาศแล้วทุกเมื่อ
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 3 รายละเอียด และมูลเหตุของการสังคายนา
โกรธกันไปทำไม
บุคคลใดไม่มีความโกรธภายในจิตใจ และก้าวล่วงภพน้อยใหญ่มีประการเป็นอันมากเสียได้ เทวดาทั้งหลายไม่อาจเล็งเห็นวาระจิตของบุคคลนั้น ผู้ปลอดภัย มีสุขไม่มีโศก
ผู้มีความเที่ยงธรรม
ผู้ไม่คดโกง ไม่พูดเพ้อ มีปรีชาสามารถ ไม่เย่อหยิ่ง มีใจมั่นคง ย่อมงดงามในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว
เหตุอย่างเดียวกัน แต่ได้ผลต่างกัน
เหตุอย่างเดียวกัน เป็นผลดีแก่คนหนึ่ง แต่เป็นผลร้ายแก่อีกคนหนึ่งได้ เพราะฉะนั้นเหตุอย่างเดียวกัน มิใช่ว่าจะเป็นผลดีไปทั้งหมด และมิใช่ว่าจะเป็นผลร้ายเสมอไป