เจดีย์เพื่อสันติภาพที่ Dhauli
ชาวพุทธทั่วโลกร่วมกันสวดมนต์เพื่อให้เกิดสันติภาพที่พุทธคยาเป็นเวลา11วัน
พระพุทธศาสนาในรัสเซีย
มีการสร้างวัดแห่งแรกขึ้น ชื่อ วัดฮิลแกนตุส หลังจากนั้นวัดในพระพุทธศาสนา หรือที่เรียกว่า ดั๊ทซัน (Datsun) ก็ปรากฏขึ้นในบริเวณอื่นๆของบูเรียตเทียอีก ชาวบูเรียตที่อยู่ฝั่งตะวันออกของทะเลสาบไบคาล ก็หันมานับถือพระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก มี นิกายเจลุกปะ เป็นนิกายที่แพร่หลายที่สุด ก่อตั้งโดย ท่านฌอนฮาวะ ชาวทิเบต
คัมภีร์ใบลานราษฎร์ ร่วมสืบศาสน์และชาติไทย
พระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาประดิษฐานในแผ่นดินสุวรรณภูมิเป็นครั้งแรก ราวปีพุทธศตวรรษที่ 3 เมื่อครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะ มหาราชผู้ยิ่งใหญ่แห่งอินเดีย โปรดเกล้าฯ ให้พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางจากแคว้นมคธมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบนี้ ซึ่งช่วงเวลานั้นประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสุวรรณภูมิ ที่มีอาณาเขตกว้างขวาง และมีศูนย์กลางสำคัญอยู่ที่จังหวัดนครปฐ
วันครูแห่งชาติ 2568 ประวัติความเป็นมาของวันครู กิจกรรมวันครู
วันครูแห่งชาติ 16 มกราคม กิจกรรมวันครู วันไหว้ครู พานไหว้ครู กลอนวันครู รวมบทความวันครู ในปี 2568 นี้มีกิจกรรมวันครูอะไรที่น่าสนใจบ้าง
วัดพระธรรมกาย จัดงานบุญวันอาทิตย์ออนไลน์
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ได้จัดงานบุญวันอาทิตย์ออนไลน์ เพื่อให้ผู้มีบุญทั่วโลกได้สั่งสมบุญร่วมกัน
สามเณรอรหันต์ รวมเรื่องราวของสามเณรอรหันต์ในสมัยพุทธกาล
สามเณรอรหันต์ รวมเรื่องราวของสามเณรอรหันต์ในสมัยพุทธกาล ได้แก่ สุมนสามเณร, โสปากสามเณร, สามเณรสีวลี, สังกิจจสามเณร, สามเณรเรวตะ, สามเณราหุล, บัณฑิตสามเณร, สามเณรทัพพะ, ติสสสามเณร, สามเณรสานุ, สามเณรปิโลติกกะ, สามเณนิโครธ, จุนทะสามเณร และกุมารกัสสปสามเณร
ทำไม...ถึงสร้างพระมหาธรรมกายเจดีย์รูปทรงแบบนี้ ? ผิดไหม ? ใช่รูปจานบินไหม ?
แล้วพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเรื่องการออกแบบสร้างสถูปหรือเจดีย์ไว้อย่างไร ?
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๙)
สำหรับในฉบับที่แล้วนั้น ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านให้ย้อนกลับไปรู้จักกับประวัติศาสตร์ของ “พระธรรมจักรศิลา” และความเชื่อมโยงกันของการที่พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิแห่งนี้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว
ย้อนรอยกาลตามรอยธรรมแห่งพระพุทธโฆษาจารย์
รอยจารึกอักษรโบราณอายุหลายร้อยปีที่ปรากฏบนแผ่นลานนั้น มีความหมายและทรงคุณค่าต่อการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์แห่งการสืบทอดคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผ่านการจดจำและจดจารจากจุดเริ่มต้น ณ ดินแดนชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล