หลุดพ้นจากเวร
เพราะเหตุใด พวกเธอจึงจองเวรกันอย่างนี้ ถ้าหากพวกเธอไม่มาพบเราแล้ว เวรของพวกเธอจะเป็นเช่นนี้อยู่ชั่วกัป เหมือนเวรของงูกับพังพอน ของหมีกับไม้ตะคร้อ ของกากับนกเค้า เพราะฉะนั้น จงเลิกจองเวรกันเถิด เพราะเวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
โลกุตตรภูมิ
ดูก่อนสารีบุตร เราตถาคตย่อมรู้ชัดซึ่งนิพพาน ทางอันยังสัตว์ให้ถึงนิพพาน และปฏิปทาอันยังสัตว์ให้ถึงนิพพาน อนึ่ง สัตว์ปฏิบัติประการใด ย่อมกระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ เราตถาคตย่อมรู้ชัด ซึ่งประการนั้นด้วย
โทษของการพูดโกหก
เพราะฉะนั้นแล บัณฑิตทั้งหลายไม่สรรเสริญฉันทาคติ คือความลำเอียงเพราะรัก บุคคลไม่พึงเป็นผู้ที่มีจิตถูกฉันทาคติประทุษร้าย พึงกล่าวแต่คำที่อิงคำสัตย์เท่านั้น
กรรมของคนเจ้าชู้
กาเมสุมิจฉาจารอันบุคคลซ่องเสพแล้ว อบรมแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปพร้อมเพื่อนรก เป็นไปพร้อมเพื่อกำเนิดในดิรัจฉาน เป็นไปพร้อมเพื่อวิสัยแห่งเปรต วิบากของกาเมสุมิจฉาจารอย่างเบาที่สุด เมื่อมาเกิดเป็นมนุษย์ ก็เป็นไปพร้อมเพื่อความเป็นผู้มีศัตรู มีเวร ไม่เป็นที่รักของคนอื่น
ชีวิตก็เป็นอย่างนี้ ตอนที่ 18
การฝึกฝนอบรมตนเองโดยย่อของอุบาสิกาผู้อุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา เพื่อที่จะทำให้ทุกๆคนได้รับอานิสงส์แห่งบุญอย่างสมบูรณ์ที่สุด
วานรินทชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของผู้ล่วงพ้นศัตรู
พุทธกาลสมัยในขณะที่พระธรรมคำสอนแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าขจรขจายไปทั่วแว่นแคว้นดินแดนชมพูทวีป ยังความร่มเย็นเป็นสุขด้วยรสแห่งธรรมที่องค์พระศาสดาตรัสรู้นั้น แผ่นดินมคธกลับผลัดเปลี่ยนอำนาจจากพระเจ้าพิมพิสารอันเป็นองค์ศาสนูปถัมภกมาเป็นโอรสนามพระเจ้าอชาตศัตรู
หลานสาวประกอบเหตุมาอย่างไรจึงเปลี่ยนจากนับถือศาสนาพุทธไปศรัทธาความเชื่ออื่น
หลานสาวของลูกเกิดในตระกูลสัมมาทิฐิ แต่เพราะวิบากกรรมที่เคยทำมาในอดีตมาส่งผล ทำให้เธอเข้าใจในหลักพระพุทธศาสนาผิดๆ เพราะไปฟังที่ปลายเหตุว่า ศาสนาพุทธสอนไว้ว่า คนเราเกิดมาเพื่อใช้กรรม จึงรู้สึกไม่ยุติธรรมที่ว่าเมื่อเกิดมาแล้ว ยังไม่ได้ทำอะไรผิด ก็ต้องมารับกรรมเสียแล้ว
“บวช” คำตอบสุดท้ายของชีวิต
เชิญชายไทยบวชเข้าพรรษา ระหว่างวันที่ 29 มิ.ย. - 7 พ.ย. 2554 ในโครงการอุปสมบทหมู่เข้าพรรษาหนึ่งแสนรูปทุกหมู่บ้านทั่วไทย
พลิกความคิดที่ติดลบกับพระ
การบวชทำให้เกิดสัมมาทิฐิ มองเห็นชีวิตตรงตามความเป็นจริง บวชอย่างน้อยหนึ่งพรรษาให้อะไรมากว่าที่คุณคิด
ชัยชนะครั้งที่ ๗ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะนันโทปนันทนาคราช)
“การให้” เป็นวัฒนธรรมของคนดี เป็นก้าวแรกของการสร้างบารมีไปสู่อายตนนิพพาน เราในฐานะผู้ให้ ย่อมได้รับความสุข จะเป็นที่รักของมนุษย์ และเทวดาทั้งหลาย